วันเสาร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วันปิยะมหาราช



พระราชประวัติ

                พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชสมภพในวันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 ตรงกับ เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ณ พระตำหนัก ตึกด้านหลังองค์พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชการที่ 4)  กับสมเด็จพระเทพศิรินทรา บรมราชินี พระองค์ทรงได้รับการศึกษาเป็นอย่างดีทั้งด้านอักษรศาสตร์ โบราณราชประเพณี วิชาการสงคราม และการปกครอง ทั้งยังทรงใฝ่พระทัย ศึกษาพระธรรมวินัย เมื่อมีพระชนมายุ 15 พรรษาทรงได้รับเลื่อนยศขึ้นเป็น กรมขุนพินิจประชานาถ ต่อมา สมเด็จพระราชบิดา ประชวรสวรรคต ด้วยโรคไข้ป่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิจประชานาถจึงได้เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบต่อจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2411 ขณะนั้นพระองค์ทรงมีชนมายุย่างเข้า16 พรรษาทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์
    ตลอดระยะเวลา 42  ปีที่ทรงครองราชย์ ได้ทรงพัฒนาสยามประเทศให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศทุกวิถีทางอาทิเช่น ด้านการปกครอง การศึกษา การสาธารณูปโภค การต่างประเทศ และ  เศรษฐกิจ เนื่องจากทรงเอาพระทัยใส่ในความเป็นอยู่ของประชาราษฎร ด้วยการเสด็จออกไปตรวจราชการ พบปะประชาชน ข้าราชการเสมอๆ  นอกจากนั้นทรงเสด็จไปต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ ชวา พม่า อินเดีย ตลอดจนถึงยุโรปในหลายประเทศ ทำให้ประเทศไทยได้เป็นที่รู้จักยอมรับและของนานาประเทศ

                พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบรมราชาภิเษก 2 ครั้ง ครั้งที่หนึ่ง เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 มีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2416  ในพระชนมายุ 20 พรรษา ทรงมีพระมเหสีและเจ้าจอมรวม 92  พระองค์ ทรงมีพระโอรสและพระราชธิดา รวมทั้งสิ้น 77 พระองค์  สำหรับพระมเหสีที่สำคัญได้แก่ 
               1. สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตนพระบรมราชเทวี (อัครมเหสีองค์แรก) หรือ สมเด็จพระนางเรือล่ม สิ้นพระชนม์เพราะเรือร่ม ขณะกำลังทรงพระครรภ์ 5 เดือนพร้อมกับพระธิดาที่มีพระชนมายุเพียง 2 
2. สมเด็จพระศรีสวรินทราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า (อัครมเหสีองค์ที่ 2) พระองค์ก็คือสมเด็จย่าของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลปัจจุบัน
3. สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงเป็นพระชนนี ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่

                         พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระปรีชาสามารถด้านวรรณกรรม ทั้งกวีและนักแต่งหนังสือ พร้อมทั้งมีความสามารถแต่งโครง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร้อยแก้ว  รัชกาลที่ 5 ทรงมีผลงานพระราชนิพนธ์ เช่น  พระราชพิธี 12 เดือน ไกลบ้าน พระราชวิจารณ์ เงาะป่า ลิลิตนิทราชาคริต เสด็จประพาสต้น
กาพย์เห่เรือ ประชุมโคลงสุภาษิต เป็นต้น กวีในรัชสมัยนี้อาทิเช่น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระยาศรีสุนทรโวหาร และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชาพร ฯลฯ
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประชวรพระวักกะ (ไต) พิการ วันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 พระองค์ได้เสด็จสวรรคต รวมพระชนอายุ 57 พรรษา ทรงเสวยราชย์ 42 ปี พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่ยิ่งใหญ่ของแผ่นดินสยาม ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณสุดคณานับทั้งประโยชน์ สุข ความเจริญรุ่งเรือง นำชาติให้เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ พระคุณสุดล้นที่จะพรรณนาจากใจของประชาชนชาวไทยได้หมด พระองค์จึงเป็นที่รักยิ่งของราษฎร
พระราชกรณียกิจที่สำด้านการปกครอง : เกิดการปฏิรูประเบียบวิธีปกครองให้ทันสมัย ดังนี้
 1.  ตั้งสภาแผ่นดิน 2 สภา คือสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน มีหน้าที่ถวายคำปรึกษาและคำคิดเห็นต่างๆ และอีกสภาคือ สภาองคมนตรี ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาราชการส่วนพระองค์และปฏิบัติราชการต่างๆ ตามพระราชดำริ
 2. ตั้งกระทรวงขึ้น 12 กระทรวง เพื่อให้การบริหารส่วนราชการสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศและปริมาณของประชากรที่เพิ่มมากขึ้น
 3. ยกเลิกการจัดเมืองเป็นชั้นเอก โท ตรี จัตวา เปลี่ยนเป็นการปกครองแบบเทศาภิบาล คือรวมหัวเมืองหลายเมืองเข้าเป็นมณฑล
 4. ทรงปฏิรูประบบกฎหมายและการศาลให้ทันสมัยและขจัดสิทธิสภาพนอกอาณาเขต มีกระทรวงยุติธรรมรับผิดชอบอย่างแท้จริง ทรงประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาซึ่งถือเป็นประมวลกฎหมายฉบับแรกของไทย ทรงจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายอีกด้วย
 5. ให้จัดการทหารตามแบบแผนของยุโรป และวางกำหนดการเกณฑ์ทหารเข้าเป็นทหาร แทนการใช้แรงงานบังคับไพร่ตามประเพณีเดิม ทรงจัดตั้งโรงเรียนการทหาร คือ โรงเรียนรายร้อยพระจุลจอมเกล้าขึ้นและ จัดตั้งตำรวจภูธร ตำรวจนครบาล อีกด้วย

     6.  การเลิกทาส  พระองค์ทรงใช้วิธีการอย่างละมุนละม่อมในการเลิกทาส มิให้ทั้งนายและตัวทาสเองได้รับผลเสียและไม่พึงพอใจ ทรงดำเนินการเลิกทาสอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยพระองค์ทรงเริ่มจากการจัดระเบียบสังคมเสียใหม่ให้มีการใช้แรงงานจ้าง ทหารประจำการหรือทหารอาชีพแทนการเกณฑ์แรงงาน มีการตราพระราชบัญญัติทหารหลายฉบับ และประกาศใช้ พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร ร.ศ. 124 โดยกำหนดให้ไพร่ที่มีอายุ 18 - 20 ปีต้องเข้ารับการคัดเลือกเป็นทหารและประจำการมีกำหนดระยะเวลา 2 ปี การประกาศใช้พระราชบัญญัติเกณฑ์ทหารนี้ นับเป็นการยกเลิกระบบไพร่หรือการเลิกทาสอย่างเป็นทางการ ไพร่จึงมีสถานะเป็นคนสามัญ เป็นแรงงานอิสระที่มีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิในฐานะมนุษย์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา การเลิกทาสได้เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2417 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2448 จึงเลิกระบบทาสได้สำเร็จ และได้ออกเป็นพระราชบัญญัติทาส รศ. 128
 เป็นเวลานานกว่าสามสิบปี พระองค์ทรงพระอุตสาหะจัดการในเรื่องนี้เป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ดำเนินการได้เรียบร้อย โดยมิได้เสียเลือดเนื้อหรือเกิดการเดือดร้อนประการใด พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ของพระองค์ย่อมยังประโยชน์ให้แก่ชาวไทยและประเทศชาติเป็นอเนกประการ

ด้านการศึกษา : พระองค์ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการศึกษา จึงทรงปฏิรูปการศึกษาโดยให้วัดร่วมมือกับรัฐจัดตั้งโรงเรียนเพื่อสอนความรู้อย่างเป็นระบบแบบแผนที่ทันสมัย คือให้มีสถานที่เล่าเรียน มีครูสอนตามเวลาที่กำหนด และให้ตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นพระบรมมหาราชวัง มีเป้าหมายเพื่อ การเรียน การสอนในการฝึกหัดกุลบุตรของบรรดาพระบรมวงศานุวงศ์และขุนนางชั้นสูงที่ถวายตัวเพื่อรับราชการโรงเรียนเหล่านี้ได้แก่ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ใน พ.ศ. 2427 ทรงได้จัดตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับราษฎรแห่งแรกที่วัดมหรรณพาราม และในเวลาต่อมาก็ได้ทรงตั้ง กรมศึกษาธิการ และกระทรวงธรรมการ (ปัจจุบัน กระทรวงศึกษาธิการ) ตามลำดับ ทำให้การศึกษาขยายสามารถขยายไปทั่วราชอาณาจัก ทำให้ประชนชนมีการศึกษามากขึ้น
 ด้านการสาธารณสุข : พระองค์ทรงนำวิทยาการด้านการแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาปรับใช้ดำเนินการ ปรับปรุงการแพทย์ด้านต่างๆ เช่น การจัดตั้งสถานพยาบาล การผลิตบุคลากรทางการแพทย์ การผลิตยา การป้องกันโรคระบาด รวมทั้งการจัดองค์กรให้ทำหน้าที่ดูแลรับผิดชอบในด้านการสาธารณสุข
มีพระราชดำริจะจัดตั้งโรงพยาบาล ให้ทันสมัยเหมือนในต่างประเทศ กำหนดสถานที่ก่อสร้างคือบริเวณพระราชวัง  ต่อมาพระราชทานนามว่า “โรงศิริราชพยาบาล ” นับเป็นโรงพยาบาลหลวงแห่งแรกของประเทศ และได้ตั้งกรมพยาบาลขึ้นในปีเดียวกันนั้นใน พ.ศ. 2429 ต่อมาในพ.ศ. 2432 โปรดให้ตั้ง โรงเรียนสอนวิชาแพทย์ ขึ้นวิชาที่ตั้งใจสอนเป็นสำคัญคือ วิชาศัลยกรรมมี หมอจอร์จ แมก ฟาร์แลนด์ ( George Mc. Farland ) เป็นผู้สอน
เรื่องสำคัญอีกประการหนึ่งที่ได้ทรงจัดทำขึ้นคือ กฏหมายลงโทษผู้กระทำผิดเกี่ยวกับการอนามัยของประชาชน เช่น ความผิดในการปลอมปนเครื่องอาหาร เครื่องยา การทิ้งของโสโครกในเขตชุมชน การขายสุราให้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 14 ปี และออกประกาศห้ามการสูบฝิ่น และการผสมฝิ่นเป็นยาในพระราชอาณาจักร ออก พระราชบัญญัติกำหนดโทษผู้ทำฝิ่นเถื่อน และในที่สุดได้ทรงยกเลิกโรงฝิ่นในกรุงเทพฯ กว่า 500โรง ในพ.ศ. 2453 ซึ่งเป็นปีสุดท้ายในรัชสมัยของพระองค์ ทรงเล็งเห็นสุขภาพอนามัยประชาชนซึ่งเป็นทรัพยากรที่สำคัญอย่างยิ่งในการปฏิรูปบ้านเมืองอีกด้วย
 ด้านศาสนา : ทรงโปรดให้ตราพระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ร.ศ.121นับเป็นพระราชบัญญัติ
ปกครองฉบับแรกของคณะสงฆ์ของไทย เพื่อให้การปกครองสงฆ์เป็นไปอย่างมีระเบียบ กำหนดให้สมเด็จพระสังราชเป็นประมุขและเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดทางฝ่ายสงฆ์ พร้อมทั้งกำหนดให้มีมหาเถรสมาคม เป็นองค์การปกครองสูงสุดของคณะสงฆ์อีกด้วย นอกจากนี้ ทรงโปรดให้จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎกขึ้นแทนการจารึกลงในใบลาน นับเป็นครั้งแรกของประเทศไทยและของโลกที่ได้มีการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกด้วยระบบการพิมพ์สมัยใหม่ เมื่อพิมพ์เสร็จเรียบร้อยแล้วได้พระราชทานไปตามวัดและห้องสมุด และให้มีงานฉลองพร้อมกับงานพระราชพิธีรัชฎาภิเษก เนื่องในโอกาสทรงเสวยราชย์ครบ 25 ปีอีกด้วย
 ด้านเศรษฐกิจ : ทรงยกเลิกการเก็บภาษีแบบเก่า ปรับปรุงระบบเก็บภาษีใหม่โดยทรงจัดตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์เป็นสำนักงานกลาง ต่อมายกฐานะเป็นกระทรวงการคลัง เมื่อ พ.ศ.2435 ทรงทำนุบำรุงการทำมาหากินของราษฎร เช่น จัดตั้งกรมทดน้ำ เมื่อ พ.ศ. 2425 เพื่อช่วยให้การทำนาได้ผลดียิ่งขึ้น ยังมีการจัดตั้งกรมป่าขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2439 ทรงโปรดให้ทำงบประมาณแผ่นดินขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อรักษาดุลภาพและความมั่น
  ด้านการคมนาคมและการสื่อสาร : ในปี พ.ศ. 2426 ทรงจัดตั้งกรมไปรษณีย์ขึ้นเป็นครั้งแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2433 ทรงให้สร้างทางรถไฟเป็นครั้งแรก เพื่อส่งเสริมให้การค้าและเศรษฐกิจขยายตัวมากยิ่งขึ้น
ทางรถไฟสายแรก คือเส้นทางระหว่าง กรุงเทพฯ-นครราชสีมา  สายต่อ ๆ ไปที่โปรดให้สร้างขึ้นในภายหลังคือ สายเพชรบุรี สายฉะเชิงเทรา สายเหนือเปิดใช้ถึงชุมทางบ้านดารา จังหวัดอุตรดิตถ์ ให้สัมปทานเดินรถรางและรถไฟในกรุงเทพ ฯ สมุทรปราการ กับรถไฟในแขวงพระพุทธบาท ตลอดจนจัดการเดินรถไฟระหว่างกรุงเทพ ฯ  ต่อจากนั้นก็ได้มีการสร้างทางรถไฟไปยังภูมิภาคต่างๆ  นอกจากนี้ทรงให้ตัดถนนขึ้นหลายสายเช่น ถนนเยาวราช ถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินนอก ทรงให้ตั้งบริษัทรถรางไทย จัดการเดินรถรางขึ้นในพระนครเพื่อให้ประชาชนได้เดินทางไปมาสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น และสร้างสะพานข้ามคลองเช่น สะพานผ่านพิภพลีลา สะพานผ่านฟ้าลีลาศ สะพานมัฑวานรังสรรค์ เป็น
ด้านการต่างประเทศ : พระองค์ทรงเสด็จเยือนต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ อินเดีย เป็นต้น การเสด็จต่างประเทศครั้งสำคัญได้แก่การเสด็จยุโรปสองครั้งคือ ครั้งที่แรก ในปี พ.ศ. 2440 ทรงใช้เวลานานถึง 9 เดือนในการเสด็จครั้งนี้ เสด็จไปเยี่ยมซาร์ นิโคลาสที่ 2 จักพรรดิแห่งรัสเซีย  และเสด็จไปอีกหลายประเทศในยุโรป ทรงได้รับการต้อนรับอย่างสมพระเกียรติเป็นอย่างดี ครั้งที่สอง ในปี 2450 ได้เสด็จเยือนยุโรปอีกครั้ง แต่ครั้งนี้ทรงไปเพื่อพักผ่อนพระราชอิริยาบถและรักษาพระองค์ตามคำแนะนำของแพทย์  ในระหว่างที่เยือนยุโรปทรงพระราชนิพนธ์หนังสือ “ไกลบ้าน ”  ในรัชกาลนี้ได้ทรงเริ่มแต่งตั้ง อัครราชทูตประจำในประเทศต่างๆ ทำให้มีประสิทธิภาพทางด้านการทูตมาก

วันปิยมหาราช หรือ วันปิยะมหาราช

 
 วันปิยมหาราช ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ พระองค์จึงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช" ซึ่งมีความหมายว่า "พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน" ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัฐบาลจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็น "วันปิยมหาราช"
 
พระราชประวัติ
 
 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ ในพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ประสูติแต่สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีฉลู ตรงกับวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๙๖ ณ พระตำหนักเดิมตรงพระที่นั่งสมมติเทวราชอุบัติ ในหมู่หนึ่งของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ทรงมีพระนามชั้นเดิมว่า " เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ " ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับผม หรือ พระเกี้ยว สำหรับ ประดับหัวจุกของเด็กไทยโบราณี

วันปิยมหาราช หรือ วันปิยะมหาราช

 
 วันปิยมหาราช ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ พระองค์จึงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช" ซึ่งมีความหมายว่า "พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน" ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัฐบาลจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็น "วันปิยมหาราช"
 
พระราชประวัติ
 
 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ ในพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ประสูติแต่สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีฉลู ตรงกับวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๙๖ ณ พระตำหนักเดิมตรงพระที่นั่งสมมติเทวราชอุบัติ ในหมู่หนึ่งของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ทรงมีพระนามชั้นเดิมว่า " เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ " ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับผม หรือ พระเกี้ยว สำหรับ ประดับหัวจุกของเด็กไทยโบราณี
 
"ทรงเป็นสมเด็จพระปิโยรส ของสมเด็จพระบรมชนกนาถตั้งแต่ทรงพระเยาว์วัย"
 
 เมื่อทรงเจริญพระชันษาสมควรแก่การศึกษา ได้ทรงพระอักษร และเริ่มเรียนในสำนักพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบุตรี ขัตติยราชนารี ผู้ทรงรอบรู้ศิลปวิทยาการหลายแขนง ตลอดจนโบราณราชประเพณี และได้ทรงศึกษาภาษาบาลี วิชาปืนไฟ มวยปล้ำ กระบี่กระบอง คชกรรม อัศวกรรม จากสำนักเจ้านายและขุนนางอื่นๆ ที่เป็นผู้ทรงความรู้อันสมควรแก่พระราชกุมาร สมเด็จพระราชบิดาผู้ทรงมีสายพระเนตรกว้างไกล ทรงตระหนักดีว่าวิชาการสมัยใหม่เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องเรียนรู้ แต่ยังไม่มีในภาษาไทย จึงทรงว่าจ้างครูสตรีชาวอังกฤษมาสอนภาษาอังกฤษแก่สมเด็จพระบรมราชโอรสด้วย แม้ภายหลังเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ท่านก็ได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษตลอดเวลา นับเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เมื่อเสด็จต่างประเทศก็ตรัสภาษาอังกฤษได้ดี ส่วนวิชารัฐประศาสนศาสตร์ราชประเพณี โบราณคดีทั้งปวงนั้น สมเด็จพระราชบิดาพระราชทานพระบรมราโชวาทฝึกสอนด้วยพระองค์เอง
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๙ ในจำนวนพระราชโอรส ธิดาทั้งสิ้น ๘๒ พระองค์ ในราชวงศ์จักรี ขณะพระชันษา ๙ พรรษา ได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นพิฆเณศวรสุรกาศ ตรงกับ ปีระกา พ.ศ. ๒๔๐๔ ต่อมาอีก ๔ ปี ก็ได้รับสถาปนาเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ต่อมาใน ปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๑๑ ได้ทรงกำกับราชการ ในกรมมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมทหารบกวังหน้า ในช่วงซึ่งพระองค์ได้ ตามเสด็จพระราชบิดา เพื่อทอดพระเนตร สุริยปราคา ที่ตำบลหว้ากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ์ ได้เกิด ประชวรด้วยไข้ป่า อย่างแรงทั้งสองพระองค์ และในวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระราชบิดา คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จสู่ สวรรคตใน ในขณะซึ่งเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ มีพระชนมายุเพียง ๑๕ ปีกับ ๑๐ วัน ทั้งยังทรงประชวรด้วยไข้ป่าอย่างหนัก เกือบจะสิ้นพระชันษาด้วย ได้รับให้สถาปนาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี ในวันเดียวกัน แต่ด้วยที่วัยพระองค์ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จึงโปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้ง เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ โดยความเห็นชอบของที่ประชุมเสนาบดี
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนาเมื่อวันพุธที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๑๖ และทรงลาผนวชใน วันพฤหัสบดีที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๖ ทรงเข้าพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก ครั้งที่ สอง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๖ ในปีต่อมาได้กระทำการสำคัญยิ่งใหญ่คือ การเลิกทาส พระองค์สามารถกระทำให้สำเร็จลุล่วงไปโดยมิได้เกิดเหตุร้ายภายในขึ้นเยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ และทรงโปรดฯ ให้มีการตราพระราชบัญญัติเลิกทาส ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช ทรงเป็นที่รักเทิดทูนของปวงชนชาวไทย ตลอดเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ นานถึง ๔๒ ปี ซึ่งยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ ที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารทุกพระองค์ ด้วยพระจริยวัตรและพระปรีชาสามารถอย่างเฉลียวฉลาด ของพระองค์ ได้ทรงเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงประเทศ โดยการวางรากฐานความเจริญในด้านต่างๆ ตลอดเวลา ๔๒ ปี ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศไทยรุดหน้าทัดเทียมอารยประเทศ ทรงพัฒนาฟันฝ่าอุปสรรค นานับประการ ทั้งต่อสู่กับการไล่ล่าเมืองขึ้นของบรรดาชาติมหาอำนาจ ในยุคนั้นมาได้ แม้จะเป็นการสูญเสียดินแดน ไปบางส่วน แต่พระองค์ทรงไว้ซึ่งความสุขุม พาประเทศชาติของพระองค์รอดพ้น จากการตกเป็นเมืองขึ้นของต่างชาติ ซึ่งเป็นเรื่องน่าทึ่งสำหรับซีกโลกส่วนนี้ของโลก ที่ ประเทศสยามแห่งนี้มิได้ตกเป็นทาสใคร ด้วยสายพระเนตรมองไกลของพระองค์ ได้ทรงพัฒนานำความเจริญ ก้าวหน้า เร่งรัดในแขนงต่างๆ ทั้ง การพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน และความมั่นคงของบ้าน อีกทั้งพระองค์ยังทรงสนพระทัยถึงความเป็น อยู่ของประชาชน ทรงออกเยี่ยมประชาราษฎร์ อยู่เป็นเนืองนิจ พระองค์จึงเป็นที่จงรักภักดี ของปวงชนชาวไทยทั้งแผ่นดิน
 
 การเสด็จยังต่างประเทศ เปรียบเสมือนเปิดประตูสู่โลกกว้างในช่วงของต้นรัชกาล พระองค์ทรงเสด็จประพาส สิงคโปร์ ชวา พม่า อินเดีย และ หลายๆ ประเทศ ทรงเสด็จประพาสยุโรปถึง ๒ ครั้ง ด้วยกัน คือในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ และในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ แนวทางความสัมพันธ์ด้วยการทูตของพระองค์ท่าน ทำให้เป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศทั่วยุโรป ข้อพิพาท และปัญหาต่างๆ ก็ได้คลายเบาบางลง ความลึกซึ้งพระปรีชาของพระองค์ ได้ทำให้ปัญหาต่างๆ ทั้งเรื่องของชายแดน ไทย-อังกฤษ หรือกับฝรั่งเศส ได้ผ่อนคลายในที่สุด
 
 ความล้ำลึกในพระปรีชาสามารถในด้านวรรณกรรม พระองค์ก็ทรงเป็นได้ทั้ง กวี และ นักประพันธ์ ที่มีความสามารถอย่างลึกซึ้งทีเดียว การแต่งโคลง ฉันท์ บทละคร กาพย์ กลอน หรือ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง ทั้งที่พระองค์ทรงมีภารกิจอยู่มากมาย แต่ก็ด้วยพระวิรยะ อุตสาหะ ทรงสนพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ดั่งที่ปรากฏผลงานเป็นที่ประจักษ์มีมากกว่า ๓๐เรื่อง ซึ่งก็มีบางเรื่องที่มีความหนาถึงกว่า ๕๐๐ หน้าก็มี ดั่งบางพระราชนิพนธ์ตอนหนึ่งของพระองค์
 
"ความรู้ คู่เปรียบด้วย กำลัง กายเฮย
สุจริต คือเกราะบัง ศาสตร์พ้อง
ปัญญา ประดุจดัง อาวุธ
คุมสติ ต่างโล่ป้อง อาจแกล้ว กลางสนาม"
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประชวร พระวักกะ (ไต) พิการ กระทั่ง เวลา ๒๔ นาฬิกา ๔๕ นาที ของคืนวันเสาร์ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระองค์ได้เสด็จสู่สวรรคต รวมพระชนอายุ ๕๗ พรรษา ทรงเสวยราชย์ ๔๒ ปี พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่ยิ่งใหญ่ของแผ่นดินสยาม ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณสุดคณานับทั้งประโยชน์ สุข ความเจริญรุ่งเรือง นำชาติให้เป็นที่ยอมรับของ นานาชาติ พระคุณสุดล้นที่จะพรรณนาจากใจของประชาชนชาวไทยได้หมด พระองค์จึงเป็นที่รักเคารพของคนไทยเสมอมา
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช เป็นพระนามที่ได้รับการถวาย โดย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นผู้ทรงคิดถวาย ซึ่งปรากฏอยู่บนจารึกใต้ฐาน ของ พระบรมรูปทรงม้า (๒๔๕๑) พระนามนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงเขียน ชมเชย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้คิดพระนามนี้ถวาย
 
 วันที่ ๒๓ ตุลาคม ของทุกๆ ปี ประชาชนคนไทย ทั้งชาติ ถือเป็นวันแห่งการน้อมรำลึกถึงพระองค์อย่างไม่มีเสื่อมคลาย วาระวันคล้ายวันที่พระองค์เสด็จสู่สวรรคต เป็นวันสำคัญที่สุดอีกวันหนึ่ง ที่จะเทิดพระเกียรติ พระปิยมหาราช ไว้ตลอดกาลนาน.
 

การเลิกทาส การเลิกระบบไพร่

 
การเลิกระบบไพร
 
 คำว่า "ไพร่" คือ คำที่ใช้เรียกราษฎรสามัญทั้งหญิงและชายในสังคมมาแต่อดีต สถานะไพร่เกิดขึ้นจากความจำเป็นทางสังคมที่แรงงานมีความสำคัญ ทั้งทางเศรษฐกิจและเป็นกำลังให้กองทัพยามสงคราม รัฐไทยในสมัยก่อนจึงต้องมีนโยบายส่งเสริมให้คนเข้ามาตั้งบ้านเมือง และหาวิธีควบคุมกำลังคนเหล่านั้น ระบบการควบคุมคนไทยในสังคมไทยคือ "ระบบมูลนายไพร่ "
 
 สถานะของไพร่จึงเป็นสถานะที่ถูกพันธนาการไว้ด้วยระเบียบของรัฐ ไม่มีอิสระในชีวิตจนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ มีไพร่หลบหนีการใช้แรงงานเป็นจำนวนมาก
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่า สถานะไพร่ เป็นแอกใหญ่ของสังคม ได้ทรงปลดภาระนี้ด้วยการจัดระเบียบสังคมเสียใหม่ให้มีการใช้แรงงานจ้าง ทหารประจำการหรือทหารอาชีพแทนการเกณฑ์แรงงาน* เริ่มจากปี พ.ศ. ๒๔๒๕ มีการตราพระราชบัญญัติทหารหลายฉบับ ให้เป็นทหารสมัครก่อน จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงประกาศใช้ " พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร ร.ศ. ๑๒๔ " เปลี่ยนจากทหารสมัครเป็นทหาร "เกณฑ์ " โดยกำหนดให้ไพร่ที่มีอายุ ๑๘ - ๒๐ ปีต้องเข้ารับการคัดเลือกเป็นทหารและประจำการมีกำหนดระยะเวลา ๒ ปี การประกาศใช้พระราชบัญญัติเกณฑ์ทหารนี้ นับเป็นการยกเลิกระบบไพร่อย่างเป็นทางการ ไพร่จึงมีสถานะเป็นคนสามัญ เป็นแรงงานอิสระที่มีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิในฐานะมนุษย์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
การเลิกทาส
 
 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบริหารราชการแผ่นดินโดยสิทธิขาด นับตั้งแต่ปี ๒๔๑๖ เป็นต้นมา พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทะนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญยิ่งขึ้นไป และให้ประชาราษฎร์ได้อยู่เย็นเป็นสุขถ้วนหน้ากัน โดยทรงยึดหลักว่า ธรรมเนียมใดเป็นการเจริญ มีคุณประโยชน์เป็นยุติธรรมแล้ว ก็ทรงทำนุบำรุงให้วัฒนาการยิ่งขึ้นไป ธรรมเนียมใดไม่เป็นการเจริญแก่ประชาชน ไม่เป็นคุณประโยชน์ ไม่เป็นการยุติธรรมก็ทรงเลิกเสียนั่นคือการเลิกทาส ได้ทรงพิจารณาที่จะเลิกทาสด้วยการลดราคาค่าทาสลง จำนวนทาสค่อยลดลงโดยลำดับจนหมดไปทั้งพระราชอาณาเขต ทรงใช้วิธีการอย่างละมุนละม่อมในการเลิกทาส มิให้ทั้งนายและตัวทาสเองได้รับผลเสียและไม่พึงพอใจ ทรงดำเนินการเลิกทาสอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๑๗ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงเลิกระบบทาสได้สำเร็จลุล่วง และได้ออกเป็นพระราชบัญญัติทาส รศ. ๑๒๘ (พ.ศ. ๒๔๔๘)
 
 การเลิกทาสเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ทรงพระอุตสาหะจัดการในเรื่องนี้เป็นเวลานานกว่าสามสิบปี จนบรรลุผลสมดังพระราชประสงค์ โดยมิได้ทรงท้อถอย ทรงรอบคอบ เห็นการณ์ไกลเป็นเลิศ พระองค์ทรงดำเนินการได้เรียบร้อย โดยมิได้เสียเลือดเนื้อหรือเกิดการเดือดร้อนประการใด เยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ของพระองค์ย่อมยังประโยชน์ให้แก่ชาวไทยและประเทศชาติเป็นอเนกประการ
 
ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซด์
www.wikipedia.org และ
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต

วันปิยมหาราช หรือ วันปิยะมหาราช

 
 วันปิยมหาราช ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ พระองค์จึงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช" ซึ่งมีความหมายว่า "พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน" ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัฐบาลจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็น "วันปิยมหาราช"
 
พระราชประวัติ
 
 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ ในพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ประสูติแต่สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีฉลู ตรงกับวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๙๖ ณ พระตำหนักเดิมตรงพระที่นั่งสมมติเทวราชอุบัติ ในหมู่หนึ่งของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ทรงมีพระนามชั้นเดิมว่า " เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ " ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับผม หรือ พระเกี้ยว สำหรับ ประดับหัวจุกของเด็กไทยโบราณี
 
"ทรงเป็นสมเด็จพระปิโยรส ของสมเด็จพระบรมชนกนาถตั้งแต่ทรงพระเยาว์วัย"
 
 เมื่อทรงเจริญพระชันษาสมควรแก่การศึกษา ได้ทรงพระอักษร และเริ่มเรียนในสำนักพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบุตรี ขัตติยราชนารี ผู้ทรงรอบรู้ศิลปวิทยาการหลายแขนง ตลอดจนโบราณราชประเพณี และได้ทรงศึกษาภาษาบาลี วิชาปืนไฟ มวยปล้ำ กระบี่กระบอง คชกรรม อัศวกรรม จากสำนักเจ้านายและขุนนางอื่นๆ ที่เป็นผู้ทรงความรู้อันสมควรแก่พระราชกุมาร สมเด็จพระราชบิดาผู้ทรงมีสายพระเนตรกว้างไกล ทรงตระหนักดีว่าวิชาการสมัยใหม่เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องเรียนรู้ แต่ยังไม่มีในภาษาไทย จึงทรงว่าจ้างครูสตรีชาวอังกฤษมาสอนภาษาอังกฤษแก่สมเด็จพระบรมราชโอรสด้วย แม้ภายหลังเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ท่านก็ได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษตลอดเวลา นับเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เมื่อเสด็จต่างประเทศก็ตรัสภาษาอังกฤษได้ดี ส่วนวิชารัฐประศาสนศาสตร์ราชประเพณี โบราณคดีทั้งปวงนั้น สมเด็จพระราชบิดาพระราชทานพระบรมราโชวาทฝึกสอนด้วยพระองค์เอง
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๙ ในจำนวนพระราชโอรส ธิดาทั้งสิ้น ๘๒ พระองค์ ในราชวงศ์จักรี ขณะพระชันษา ๙ พรรษา ได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นพิฆเณศวรสุรกาศ ตรงกับ ปีระกา พ.ศ. ๒๔๐๔ ต่อมาอีก ๔ ปี ก็ได้รับสถาปนาเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ต่อมาใน ปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๑๑ ได้ทรงกำกับราชการ ในกรมมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมทหารบกวังหน้า ในช่วงซึ่งพระองค์ได้ ตามเสด็จพระราชบิดา เพื่อทอดพระเนตร สุริยปราคา ที่ตำบลหว้ากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ์ ได้เกิด ประชวรด้วยไข้ป่า อย่างแรงทั้งสองพระองค์ และในวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระราชบิดา คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จสู่ สวรรคตใน ในขณะซึ่งเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ มีพระชนมายุเพียง ๑๕ ปีกับ ๑๐ วัน ทั้งยังทรงประชวรด้วยไข้ป่าอย่างหนัก เกือบจะสิ้นพระชันษาด้วย ได้รับให้สถาปนาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี ในวันเดียวกัน แต่ด้วยที่วัยพระองค์ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จึงโปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้ง เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ โดยความเห็นชอบของที่ประชุมเสนาบดี
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนาเมื่อวันพุธที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๑๖ และทรงลาผนวชใน วันพฤหัสบดีที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๖ ทรงเข้าพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก ครั้งที่ สอง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๖ ในปีต่อมาได้กระทำการสำคัญยิ่งใหญ่คือ การเลิกทาส พระองค์สามารถกระทำให้สำเร็จลุล่วงไปโดยมิได้เกิดเหตุร้ายภายในขึ้นเยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ และทรงโปรดฯ ให้มีการตราพระราชบัญญัติเลิกทาส ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช ทรงเป็นที่รักเทิดทูนของปวงชนชาวไทย ตลอดเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ นานถึง ๔๒ ปี ซึ่งยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ ที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารทุกพระองค์ ด้วยพระจริยวัตรและพระปรีชาสามารถอย่างเฉลียวฉลาด ของพระองค์ ได้ทรงเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงประเทศ โดยการวางรากฐานความเจริญในด้านต่างๆ ตลอดเวลา ๔๒ ปี ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศไทยรุดหน้าทัดเทียมอารยประเทศ ทรงพัฒนาฟันฝ่าอุปสรรค นานับประการ ทั้งต่อสู่กับการไล่ล่าเมืองขึ้นของบรรดาชาติมหาอำนาจ ในยุคนั้นมาได้ แม้จะเป็นการสูญเสียดินแดน ไปบางส่วน แต่พระองค์ทรงไว้ซึ่งความสุขุม พาประเทศชาติของพระองค์รอดพ้น จากการตกเป็นเมืองขึ้นของต่างชาติ ซึ่งเป็นเรื่องน่าทึ่งสำหรับซีกโลกส่วนนี้ของโลก ที่ ประเทศสยามแห่งนี้มิได้ตกเป็นทาสใคร ด้วยสายพระเนตรมองไกลของพระองค์ ได้ทรงพัฒนานำความเจริญ ก้าวหน้า เร่งรัดในแขนงต่างๆ ทั้ง การพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน และความมั่นคงของบ้าน อีกทั้งพระองค์ยังทรงสนพระทัยถึงความเป็น อยู่ของประชาชน ทรงออกเยี่ยมประชาราษฎร์ อยู่เป็นเนืองนิจ พระองค์จึงเป็นที่จงรักภักดี ของปวงชนชาวไทยทั้งแผ่นดิน
 
 การเสด็จยังต่างประเทศ เปรียบเสมือนเปิดประตูสู่โลกกว้างในช่วงของต้นรัชกาล พระองค์ทรงเสด็จประพาส สิงคโปร์ ชวา พม่า อินเดีย และ หลายๆ ประเทศ ทรงเสด็จประพาสยุโรปถึง ๒ ครั้ง ด้วยกัน คือในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ และในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ แนวทางความสัมพันธ์ด้วยการทูตของพระองค์ท่าน ทำให้เป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศทั่วยุโรป ข้อพิพาท และปัญหาต่างๆ ก็ได้คลายเบาบางลง ความลึกซึ้งพระปรีชาของพระองค์ ได้ทำให้ปัญหาต่างๆ ทั้งเรื่องของชายแดน ไทย-อังกฤษ หรือกับฝรั่งเศส ได้ผ่อนคลายในที่สุด
 
 ความล้ำลึกในพระปรีชาสามารถในด้านวรรณกรรม พระองค์ก็ทรงเป็นได้ทั้ง กวี และ นักประพันธ์ ที่มีความสามารถอย่างลึกซึ้งทีเดียว การแต่งโคลง ฉันท์ บทละคร กาพย์ กลอน หรือ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง ทั้งที่พระองค์ทรงมีภารกิจอยู่มากมาย แต่ก็ด้วยพระวิรยะ อุตสาหะ ทรงสนพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ดั่งที่ปรากฏผลงานเป็นที่ประจักษ์มีมากกว่า ๓๐เรื่อง ซึ่งก็มีบางเรื่องที่มีความหนาถึงกว่า ๕๐๐ หน้าก็มี ดั่งบางพระราชนิพนธ์ตอนหนึ่งของพระองค์
 
"ความรู้ คู่เปรียบด้วย กำลัง กายเฮย
สุจริต คือเกราะบัง ศาสตร์พ้อง
ปัญญา ประดุจดัง อาวุธ
คุมสติ ต่างโล่ป้อง อาจแกล้ว กลางสนาม"
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประชวร พระวักกะ (ไต) พิการ กระทั่ง เวลา ๒๔ นาฬิกา ๔๕ นาที ของคืนวันเสาร์ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระองค์ได้เสด็จสู่สวรรคต รวมพระชนอายุ ๕๗ พรรษา ทรงเสวยราชย์ ๔๒ ปี พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่ยิ่งใหญ่ของแผ่นดินสยาม ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณสุดคณานับทั้งประโยชน์ สุข ความเจริญรุ่งเรือง นำชาติให้เป็นที่ยอมรับของ นานาชาติ พระคุณสุดล้นที่จะพรรณนาจากใจของประชาชนชาวไทยได้หมด พระองค์จึงเป็นที่รักเคารพของคนไทยเสมอมา
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช เป็นพระนามที่ได้รับการถวาย โดย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นผู้ทรงคิดถวาย ซึ่งปรากฏอยู่บนจารึกใต้ฐาน ของ พระบรมรูปทรงม้า (๒๔๕๑) พระนามนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงเขียน ชมเชย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้คิดพระนามนี้ถวาย
 
 วันที่ ๒๓ ตุลาคม ของทุกๆ ปี ประชาชนคนไทย ทั้งชาติ ถือเป็นวันแห่งการน้อมรำลึกถึงพระองค์อย่างไม่มีเสื่อมคลาย วาระวันคล้ายวันที่พระองค์เสด็จสู่สวรรคต เป็นวันสำคัญที่สุดอีกวันหนึ่ง ที่จะเทิดพระเกียรติ พระปิยมหาราช ไว้ตลอดกาลนาน.
 

การเลิกทาส การเลิกระบบไพร่

 
การเลิกระบบไพร
 
 คำว่า "ไพร่" คือ คำที่ใช้เรียกราษฎรสามัญทั้งหญิงและชายในสังคมมาแต่อดีต สถานะไพร่เกิดขึ้นจากความจำเป็นทางสังคมที่แรงงานมีความสำคัญ ทั้งทางเศรษฐกิจและเป็นกำลังให้กองทัพยามสงคราม รัฐไทยในสมัยก่อนจึงต้องมีนโยบายส่งเสริมให้คนเข้ามาตั้งบ้านเมือง และหาวิธีควบคุมกำลังคนเหล่านั้น ระบบการควบคุมคนไทยในสังคมไทยคือ "ระบบมูลนายไพร่ "
 
 สถานะของไพร่จึงเป็นสถานะที่ถูกพันธนาการไว้ด้วยระเบียบของรัฐ ไม่มีอิสระในชีวิตจนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ มีไพร่หลบหนีการใช้แรงงานเป็นจำนวนมาก
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่า สถานะไพร่ เป็นแอกใหญ่ของสังคม ได้ทรงปลดภาระนี้ด้วยการจัดระเบียบสังคมเสียใหม่ให้มีการใช้แรงงานจ้าง ทหารประจำการหรือทหารอาชีพแทนการเกณฑ์แรงงาน* เริ่มจากปี พ.ศ. ๒๔๒๕ มีการตราพระราชบัญญัติทหารหลายฉบับ ให้เป็นทหารสมัครก่อน จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงประกาศใช้ " พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร ร.ศ. ๑๒๔ " เปลี่ยนจากทหารสมัครเป็นทหาร "เกณฑ์ " โดยกำหนดให้ไพร่ที่มีอายุ ๑๘ - ๒๐ ปีต้องเข้ารับการคัดเลือกเป็นทหารและประจำการมีกำหนดระยะเวลา ๒ ปี การประกาศใช้พระราชบัญญัติเกณฑ์ทหารนี้ นับเป็นการยกเลิกระบบไพร่อย่างเป็นทางการ ไพร่จึงมีสถานะเป็นคนสามัญ เป็นแรงงานอิสระที่มีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิในฐานะมนุษย์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
การเลิกทาส
 
 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบริหารราชการแผ่นดินโดยสิทธิขาด นับตั้งแต่ปี ๒๔๑๖ เป็นต้นมา พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทะนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญยิ่งขึ้นไป และให้ประชาราษฎร์ได้อยู่เย็นเป็นสุขถ้วนหน้ากัน โดยทรงยึดหลักว่า ธรรมเนียมใดเป็นการเจริญ มีคุณประโยชน์เป็นยุติธรรมแล้ว ก็ทรงทำนุบำรุงให้วัฒนาการยิ่งขึ้นไป ธรรมเนียมใดไม่เป็นการเจริญแก่ประชาชน ไม่เป็นคุณประโยชน์ ไม่เป็นการยุติธรรมก็ทรงเลิกเสียนั่นคือการเลิกทาส ได้ทรงพิจารณาที่จะเลิกทาสด้วยการลดราคาค่าทาสลง จำนวนทาสค่อยลดลงโดยลำดับจนหมดไปทั้งพระราชอาณาเขต ทรงใช้วิธีการอย่างละมุนละม่อมในการเลิกทาส มิให้ทั้งนายและตัวทาสเองได้รับผลเสียและไม่พึงพอใจ ทรงดำเนินการเลิกทาสอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๑๗ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงเลิกระบบทาสได้สำเร็จลุล่วง และได้ออกเป็นพระราชบัญญัติทาส รศ. ๑๒๘ (พ.ศ. ๒๔๔๘)
 
 การเลิกทาสเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ทรงพระอุตสาหะจัดการในเรื่องนี้เป็นเวลานานกว่าสามสิบปี จนบรรลุผลสมดังพระราชประสงค์ โดยมิได้ทรงท้อถอย ทรงรอบคอบ เห็นการณ์ไกลเป็นเลิศ พระองค์ทรงดำเนินการได้เรียบร้อย โดยมิได้เสียเลือดเนื้อหรือเกิดการเดือดร้อนประการใด เยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ของพระองค์ย่อมยังประโยชน์ให้แก่ชาวไทยและประเทศชาติเป็นอเนกประการ
 
ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซด์
www.wikipedia.org และ
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต

วันปิยมหาราช หรือ วันปิยะมหาราช

 
 วันปิยมหาราช ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ พระองค์จึงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช" ซึ่งมีความหมายว่า "พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน" ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัฐบาลจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็น "วันปิยมหาราช"
 
พระราชประวัติ
 
 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ ในพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ประสูติแต่สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีฉลู ตรงกับวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๙๖ ณ พระตำหนักเดิมตรงพระที่นั่งสมมติเทวราชอุบัติ ในหมู่หนึ่งของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ทรงมีพระนามชั้นเดิมว่า " เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ " ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับผม หรือ พระเกี้ยว สำหรับ ประดับหัวจุกของเด็กไทยโบราณี
 
"ทรงเป็นสมเด็จพระปิโยรส ของสมเด็จพระบรมชนกนาถตั้งแต่ทรงพระเยาว์วัย"
 
 เมื่อทรงเจริญพระชันษาสมควรแก่การศึกษา ได้ทรงพระอักษร และเริ่มเรียนในสำนักพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบุตรี ขัตติยราชนารี ผู้ทรงรอบรู้ศิลปวิทยาการหลายแขนง ตลอดจนโบราณราชประเพณี และได้ทรงศึกษาภาษาบาลี วิชาปืนไฟ มวยปล้ำ กระบี่กระบอง คชกรรม อัศวกรรม จากสำนักเจ้านายและขุนนางอื่นๆ ที่เป็นผู้ทรงความรู้อันสมควรแก่พระราชกุมาร สมเด็จพระราชบิดาผู้ทรงมีสายพระเนตรกว้างไกล ทรงตระหนักดีว่าวิชาการสมัยใหม่เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องเรียนรู้ แต่ยังไม่มีในภาษาไทย จึงทรงว่าจ้างครูสตรีชาวอังกฤษมาสอนภาษาอังกฤษแก่สมเด็จพระบรมราชโอรสด้วย แม้ภายหลังเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ท่านก็ได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษตลอดเวลา นับเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เมื่อเสด็จต่างประเทศก็ตรัสภาษาอังกฤษได้ดี ส่วนวิชารัฐประศาสนศาสตร์ราชประเพณี โบราณคดีทั้งปวงนั้น สมเด็จพระราชบิดาพระราชทานพระบรมราโชวาทฝึกสอนด้วยพระองค์เอง
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๙ ในจำนวนพระราชโอรส ธิดาทั้งสิ้น ๘๒ พระองค์ ในราชวงศ์จักรี ขณะพระชันษา ๙ พรรษา ได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นพิฆเณศวรสุรกาศ ตรงกับ ปีระกา พ.ศ. ๒๔๐๔ ต่อมาอีก ๔ ปี ก็ได้รับสถาปนาเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ต่อมาใน ปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๑๑ ได้ทรงกำกับราชการ ในกรมมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมทหารบกวังหน้า ในช่วงซึ่งพระองค์ได้ ตามเสด็จพระราชบิดา เพื่อทอดพระเนตร สุริยปราคา ที่ตำบลหว้ากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ์ ได้เกิด ประชวรด้วยไข้ป่า อย่างแรงทั้งสองพระองค์ และในวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระราชบิดา คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จสู่ สวรรคตใน ในขณะซึ่งเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ มีพระชนมายุเพียง ๑๕ ปีกับ ๑๐ วัน ทั้งยังทรงประชวรด้วยไข้ป่าอย่างหนัก เกือบจะสิ้นพระชันษาด้วย ได้รับให้สถาปนาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี ในวันเดียวกัน แต่ด้วยที่วัยพระองค์ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จึงโปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้ง เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ โดยความเห็นชอบของที่ประชุมเสนาบดี
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนาเมื่อวันพุธที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๑๖ และทรงลาผนวชใน วันพฤหัสบดีที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๖ ทรงเข้าพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก ครั้งที่ สอง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๖ ในปีต่อมาได้กระทำการสำคัญยิ่งใหญ่คือ การเลิกทาส พระองค์สามารถกระทำให้สำเร็จลุล่วงไปโดยมิได้เกิดเหตุร้ายภายในขึ้นเยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ และทรงโปรดฯ ให้มีการตราพระราชบัญญัติเลิกทาส ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช ทรงเป็นที่รักเทิดทูนของปวงชนชาวไทย ตลอดเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ นานถึง ๔๒ ปี ซึ่งยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ ที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารทุกพระองค์ ด้วยพระจริยวัตรและพระปรีชาสามารถอย่างเฉลียวฉลาด ของพระองค์ ได้ทรงเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงประเทศ โดยการวางรากฐานความเจริญในด้านต่างๆ ตลอดเวลา ๔๒ ปี ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศไทยรุดหน้าทัดเทียมอารยประเทศ ทรงพัฒนาฟันฝ่าอุปสรรค นานับประการ ทั้งต่อสู่กับการไล่ล่าเมืองขึ้นของบรรดาชาติมหาอำนาจ ในยุคนั้นมาได้ แม้จะเป็นการสูญเสียดินแดน ไปบางส่วน แต่พระองค์ทรงไว้ซึ่งความสุขุม พาประเทศชาติของพระองค์รอดพ้น จากการตกเป็นเมืองขึ้นของต่างชาติ ซึ่งเป็นเรื่องน่าทึ่งสำหรับซีกโลกส่วนนี้ของโลก ที่ ประเทศสยามแห่งนี้มิได้ตกเป็นทาสใคร ด้วยสายพระเนตรมองไกลของพระองค์ ได้ทรงพัฒนานำความเจริญ ก้าวหน้า เร่งรัดในแขนงต่างๆ ทั้ง การพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน และความมั่นคงของบ้าน อีกทั้งพระองค์ยังทรงสนพระทัยถึงความเป็น อยู่ของประชาชน ทรงออกเยี่ยมประชาราษฎร์ อยู่เป็นเนืองนิจ พระองค์จึงเป็นที่จงรักภักดี ของปวงชนชาวไทยทั้งแผ่นดิน
 
 การเสด็จยังต่างประเทศ เปรียบเสมือนเปิดประตูสู่โลกกว้างในช่วงของต้นรัชกาล พระองค์ทรงเสด็จประพาส สิงคโปร์ ชวา พม่า อินเดีย และ หลายๆ ประเทศ ทรงเสด็จประพาสยุโรปถึง ๒ ครั้ง ด้วยกัน คือในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ และในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ แนวทางความสัมพันธ์ด้วยการทูตของพระองค์ท่าน ทำให้เป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศทั่วยุโรป ข้อพิพาท และปัญหาต่างๆ ก็ได้คลายเบาบางลง ความลึกซึ้งพระปรีชาของพระองค์ ได้ทำให้ปัญหาต่างๆ ทั้งเรื่องของชายแดน ไทย-อังกฤษ หรือกับฝรั่งเศส ได้ผ่อนคลายในที่สุด
 
 ความล้ำลึกในพระปรีชาสามารถในด้านวรรณกรรม พระองค์ก็ทรงเป็นได้ทั้ง กวี และ นักประพันธ์ ที่มีความสามารถอย่างลึกซึ้งทีเดียว การแต่งโคลง ฉันท์ บทละคร กาพย์ กลอน หรือ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง ทั้งที่พระองค์ทรงมีภารกิจอยู่มากมาย แต่ก็ด้วยพระวิรยะ อุตสาหะ ทรงสนพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ดั่งที่ปรากฏผลงานเป็นที่ประจักษ์มีมากกว่า ๓๐เรื่อง ซึ่งก็มีบางเรื่องที่มีความหนาถึงกว่า ๕๐๐ หน้าก็มี ดั่งบางพระราชนิพนธ์ตอนหนึ่งของพระองค์
 
"ความรู้ คู่เปรียบด้วย กำลัง กายเฮย
สุจริต คือเกราะบัง ศาสตร์พ้อง
ปัญญา ประดุจดัง อาวุธ
คุมสติ ต่างโล่ป้อง อาจแกล้ว กลางสนาม"
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประชวร พระวักกะ (ไต) พิการ กระทั่ง เวลา ๒๔ นาฬิกา ๔๕ นาที ของคืนวันเสาร์ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระองค์ได้เสด็จสู่สวรรคต รวมพระชนอายุ ๕๗ พรรษา ทรงเสวยราชย์ ๔๒ ปี พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่ยิ่งใหญ่ของแผ่นดินสยาม ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณสุดคณานับทั้งประโยชน์ สุข ความเจริญรุ่งเรือง นำชาติให้เป็นที่ยอมรับของ นานาชาติ พระคุณสุดล้นที่จะพรรณนาจากใจของประชาชนชาวไทยได้หมด พระองค์จึงเป็นที่รักเคารพของคนไทยเสมอมา
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช เป็นพระนามที่ได้รับการถวาย โดย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นผู้ทรงคิดถวาย ซึ่งปรากฏอยู่บนจารึกใต้ฐาน ของ พระบรมรูปทรงม้า (๒๔๕๑) พระนามนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงเขียน ชมเชย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้คิดพระนามนี้ถวาย
 
 วันที่ ๒๓ ตุลาคม ของทุกๆ ปี ประชาชนคนไทย ทั้งชาติ ถือเป็นวันแห่งการน้อมรำลึกถึงพระองค์อย่างไม่มีเสื่อมคลาย วาระวันคล้ายวันที่พระองค์เสด็จสู่สวรรคต เป็นวันสำคัญที่สุดอีกวันหนึ่ง ที่จะเทิดพระเกียรติ พระปิยมหาราช ไว้ตลอดกาลนาน.
 

การเลิกทาส การเลิกระบบไพร่

 
การเลิกระบบไพร
 
 คำว่า "ไพร่" คือ คำที่ใช้เรียกราษฎรสามัญทั้งหญิงและชายในสังคมมาแต่อดีต สถานะไพร่เกิดขึ้นจากความจำเป็นทางสังคมที่แรงงานมีความสำคัญ ทั้งทางเศรษฐกิจและเป็นกำลังให้กองทัพยามสงคราม รัฐไทยในสมัยก่อนจึงต้องมีนโยบายส่งเสริมให้คนเข้ามาตั้งบ้านเมือง และหาวิธีควบคุมกำลังคนเหล่านั้น ระบบการควบคุมคนไทยในสังคมไทยคือ "ระบบมูลนายไพร่ "
 
 สถานะของไพร่จึงเป็นสถานะที่ถูกพันธนาการไว้ด้วยระเบียบของรัฐ ไม่มีอิสระในชีวิตจนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ มีไพร่หลบหนีการใช้แรงงานเป็นจำนวนมาก
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่า สถานะไพร่ เป็นแอกใหญ่ของสังคม ได้ทรงปลดภาระนี้ด้วยการจัดระเบียบสังคมเสียใหม่ให้มีการใช้แรงงานจ้าง ทหารประจำการหรือทหารอาชีพแทนการเกณฑ์แรงงาน* เริ่มจากปี พ.ศ. ๒๔๒๕ มีการตราพระราชบัญญัติทหารหลายฉบับ ให้เป็นทหารสมัครก่อน จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงประกาศใช้ " พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร ร.ศ. ๑๒๔ " เปลี่ยนจากทหารสมัครเป็นทหาร "เกณฑ์ " โดยกำหนดให้ไพร่ที่มีอายุ ๑๘ - ๒๐ ปีต้องเข้ารับการคัดเลือกเป็นทหารและประจำการมีกำหนดระยะเวลา ๒ ปี การประกาศใช้พระราชบัญญัติเกณฑ์ทหารนี้ นับเป็นการยกเลิกระบบไพร่อย่างเป็นทางการ ไพร่จึงมีสถานะเป็นคนสามัญ เป็นแรงงานอิสระที่มีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิในฐานะมนุษย์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
การเลิกทาส
 
 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบริหารราชการแผ่นดินโดยสิทธิขาด นับตั้งแต่ปี ๒๔๑๖ เป็นต้นมา พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทะนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญยิ่งขึ้นไป และให้ประชาราษฎร์ได้อยู่เย็นเป็นสุขถ้วนหน้ากัน โดยทรงยึดหลักว่า ธรรมเนียมใดเป็นการเจริญ มีคุณประโยชน์เป็นยุติธรรมแล้ว ก็ทรงทำนุบำรุงให้วัฒนาการยิ่งขึ้นไป ธรรมเนียมใดไม่เป็นการเจริญแก่ประชาชน ไม่เป็นคุณประโยชน์ ไม่เป็นการยุติธรรมก็ทรงเลิกเสียนั่นคือการเลิกทาส ได้ทรงพิจารณาที่จะเลิกทาสด้วยการลดราคาค่าทาสลง จำนวนทาสค่อยลดลงโดยลำดับจนหมดไปทั้งพระราชอาณาเขต ทรงใช้วิธีการอย่างละมุนละม่อมในการเลิกทาส มิให้ทั้งนายและตัวทาสเองได้รับผลเสียและไม่พึงพอใจ ทรงดำเนินการเลิกทาสอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๑๗ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงเลิกระบบทาสได้สำเร็จลุล่วง และได้ออกเป็นพระราชบัญญัติทาส รศ. ๑๒๘ (พ.ศ. ๒๔๔๘)
 
 การเลิกทาสเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ทรงพระอุตสาหะจัดการในเรื่องนี้เป็นเวลานานกว่าสามสิบปี จนบรรลุผลสมดังพระราชประสงค์ โดยมิได้ทรงท้อถอย ทรงรอบคอบ เห็นการณ์ไกลเป็นเลิศ พระองค์ทรงดำเนินการได้เรียบร้อย โดยมิได้เสียเลือดเนื้อหรือเกิดการเดือดร้อนประการใด เยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ของพระองค์ย่อมยังประโยชน์ให้แก่ชาวไทยและประเทศชาติเป็นอเนกประการ
 
ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซด์
www.wikipedia.org และ
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต
 

วันปิยมหาราช หรือ วันปิยะมหาราช

 
 วันปิยมหาราช ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ พระองค์จึงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช" ซึ่งมีความหมายว่า "พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน" ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัฐบาลจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็น "วันปิยมหาราช"
 
พระราชประวัติ
 
 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ ในพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ประสูติแต่สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีฉลู ตรงกับวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๙๖ ณ พระตำหนักเดิมตรงพระที่นั่งสมมติเทวราชอุบัติ ในหมู่หนึ่งของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ทรงมีพระนามชั้นเดิมว่า " เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ " ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับผม หรือ พระเกี้ยว สำหรับ ประดับหัวจุกของเด็กไทยโบราณี
 
"ทรงเป็นสมเด็จพระปิโยรส ของสมเด็จพระบรมชนกนาถตั้งแต่ทรงพระเยาว์วัย"
 
 เมื่อทรงเจริญพระชันษาสมควรแก่การศึกษา ได้ทรงพระอักษร และเริ่มเรียนในสำนักพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบุตรี ขัตติยราชนารี ผู้ทรงรอบรู้ศิลปวิทยาการหลายแขนง ตลอดจนโบราณราชประเพณี และได้ทรงศึกษาภาษาบาลี วิชาปืนไฟ มวยปล้ำ กระบี่กระบอง คชกรรม อัศวกรรม จากสำนักเจ้านายและขุนนางอื่นๆ ที่เป็นผู้ทรงความรู้อันสมควรแก่พระราชกุมาร สมเด็จพระราชบิดาผู้ทรงมีสายพระเนตรกว้างไกล ทรงตระหนักดีว่าวิชาการสมัยใหม่เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องเรียนรู้ แต่ยังไม่มีในภาษาไทย จึงทรงว่าจ้างครูสตรีชาวอังกฤษมาสอนภาษาอังกฤษแก่สมเด็จพระบรมราชโอรสด้วย แม้ภายหลังเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ท่านก็ได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษตลอดเวลา นับเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เมื่อเสด็จต่างประเทศก็ตรัสภาษาอังกฤษได้ดี ส่วนวิชารัฐประศาสนศาสตร์ราชประเพณี โบราณคดีทั้งปวงนั้น สมเด็จพระราชบิดาพระราชทานพระบรมราโชวาทฝึกสอนด้วยพระองค์เอง
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๙ ในจำนวนพระราชโอรส ธิดาทั้งสิ้น ๘๒ พระองค์ ในราชวงศ์จักรี ขณะพระชันษา ๙ พรรษา ได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นพิฆเณศวรสุรกาศ ตรงกับ ปีระกา พ.ศ. ๒๔๐๔ ต่อมาอีก ๔ ปี ก็ได้รับสถาปนาเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ต่อมาใน ปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๑๑ ได้ทรงกำกับราชการ ในกรมมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมทหารบกวังหน้า ในช่วงซึ่งพระองค์ได้ ตามเสด็จพระราชบิดา เพื่อทอดพระเนตร สุริยปราคา ที่ตำบลหว้ากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ์ ได้เกิด ประชวรด้วยไข้ป่า อย่างแรงทั้งสองพระองค์ และในวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระราชบิดา คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จสู่ สวรรคตใน ในขณะซึ่งเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ มีพระชนมายุเพียง ๑๕ ปีกับ ๑๐ วัน ทั้งยังทรงประชวรด้วยไข้ป่าอย่างหนัก เกือบจะสิ้นพระชันษาด้วย ได้รับให้สถาปนาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี ในวันเดียวกัน แต่ด้วยที่วัยพระองค์ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จึงโปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้ง เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ โดยความเห็นชอบของที่ประชุมเสนาบดี
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนาเมื่อวันพุธที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๑๖ และทรงลาผนวชใน วันพฤหัสบดีที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๖ ทรงเข้าพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก ครั้งที่ สอง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๖ ในปีต่อมาได้กระทำการสำคัญยิ่งใหญ่คือ การเลิกทาส พระองค์สามารถกระทำให้สำเร็จลุล่วงไปโดยมิได้เกิดเหตุร้ายภายในขึ้นเยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ และทรงโปรดฯ ให้มีการตราพระราชบัญญัติเลิกทาส ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช ทรงเป็นที่รักเทิดทูนของปวงชนชาวไทย ตลอดเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ นานถึง ๔๒ ปี ซึ่งยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ ที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารทุกพระองค์ ด้วยพระจริยวัตรและพระปรีชาสามารถอย่างเฉลียวฉลาด ของพระองค์ ได้ทรงเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงประเทศ โดยการวางรากฐานความเจริญในด้านต่างๆ ตลอดเวลา ๔๒ ปี ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศไทยรุดหน้าทัดเทียมอารยประเทศ ทรงพัฒนาฟันฝ่าอุปสรรค นานับประการ ทั้งต่อสู่กับการไล่ล่าเมืองขึ้นของบรรดาชาติมหาอำนาจ ในยุคนั้นมาได้ แม้จะเป็นการสูญเสียดินแดน ไปบางส่วน แต่พระองค์ทรงไว้ซึ่งความสุขุม พาประเทศชาติของพระองค์รอดพ้น จากการตกเป็นเมืองขึ้นของต่างชาติ ซึ่งเป็นเรื่องน่าทึ่งสำหรับซีกโลกส่วนนี้ของโลก ที่ ประเทศสยามแห่งนี้มิได้ตกเป็นทาสใคร ด้วยสายพระเนตรมองไกลของพระองค์ ได้ทรงพัฒนานำความเจริญ ก้าวหน้า เร่งรัดในแขนงต่างๆ ทั้ง การพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน และความมั่นคงของบ้าน อีกทั้งพระองค์ยังทรงสนพระทัยถึงความเป็น อยู่ของประชาชน ทรงออกเยี่ยมประชาราษฎร์ อยู่เป็นเนืองนิจ พระองค์จึงเป็นที่จงรักภักดี ของปวงชนชาวไทยทั้งแผ่นดิน
 
 การเสด็จยังต่างประเทศ เปรียบเสมือนเปิดประตูสู่โลกกว้างในช่วงของต้นรัชกาล พระองค์ทรงเสด็จประพาส สิงคโปร์ ชวา พม่า อินเดีย และ หลายๆ ประเทศ ทรงเสด็จประพาสยุโรปถึง ๒ ครั้ง ด้วยกัน คือในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ และในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ แนวทางความสัมพันธ์ด้วยการทูตของพระองค์ท่าน ทำให้เป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศทั่วยุโรป ข้อพิพาท และปัญหาต่างๆ ก็ได้คลายเบาบางลง ความลึกซึ้งพระปรีชาของพระองค์ ได้ทำให้ปัญหาต่างๆ ทั้งเรื่องของชายแดน ไทย-อังกฤษ หรือกับฝรั่งเศส ได้ผ่อนคลายในที่สุด
 
 ความล้ำลึกในพระปรีชาสามารถในด้านวรรณกรรม พระองค์ก็ทรงเป็นได้ทั้ง กวี และ นักประพันธ์ ที่มีความสามารถอย่างลึกซึ้งทีเดียว การแต่งโคลง ฉันท์ บทละคร กาพย์ กลอน หรือ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง ทั้งที่พระองค์ทรงมีภารกิจอยู่มากมาย แต่ก็ด้วยพระวิรยะ อุตสาหะ ทรงสนพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ดั่งที่ปรากฏผลงานเป็นที่ประจักษ์มีมากกว่า ๓๐เรื่อง ซึ่งก็มีบางเรื่องที่มีความหนาถึงกว่า ๕๐๐ หน้าก็มี ดั่งบางพระราชนิพนธ์ตอนหนึ่งของพระองค์
 
"ความรู้ คู่เปรียบด้วย กำลัง กายเฮย
สุจริต คือเกราะบัง ศาสตร์พ้อง
ปัญญา ประดุจดัง อาวุธ
คุมสติ ต่างโล่ป้อง อาจแกล้ว กลางสนาม"
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประชวร พระวักกะ (ไต) พิการ กระทั่ง เวลา ๒๔ นาฬิกา ๔๕ นาที ของคืนวันเสาร์ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระองค์ได้เสด็จสู่สวรรคต รวมพระชนอายุ ๕๗ พรรษา ทรงเสวยราชย์ ๔๒ ปี พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่ยิ่งใหญ่ของแผ่นดินสยาม ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณสุดคณานับทั้งประโยชน์ สุข ความเจริญรุ่งเรือง นำชาติให้เป็นที่ยอมรับของ นานาชาติ พระคุณสุดล้นที่จะพรรณนาจากใจของประชาชนชาวไทยได้หมด พระองค์จึงเป็นที่รักเคารพของคนไทยเสมอมา
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช เป็นพระนามที่ได้รับการถวาย โดย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นผู้ทรงคิดถวาย ซึ่งปรากฏอยู่บนจารึกใต้ฐาน ของ พระบรมรูปทรงม้า (๒๔๕๑) พระนามนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงเขียน ชมเชย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้คิดพระนามนี้ถวาย
 
 วันที่ ๒๓ ตุลาคม ของทุกๆ ปี ประชาชนคนไทย ทั้งชาติ ถือเป็นวันแห่งการน้อมรำลึกถึงพระองค์อย่างไม่มีเสื่อมคลาย วาระวันคล้ายวันที่พระองค์เสด็จสู่สวรรคต เป็นวันสำคัญที่สุดอีกวันหนึ่ง ที่จะเทิดพระเกียรติ พระปิยมหาราช ไว้ตลอดกาลนาน.
 

การเลิกทาส การเลิกระบบไพร่

 
การเลิกระบบไพร
 
 คำว่า "ไพร่" คือ คำที่ใช้เรียกราษฎรสามัญทั้งหญิงและชายในสังคมมาแต่อดีต สถานะไพร่เกิดขึ้นจากความจำเป็นทางสังคมที่แรงงานมีความสำคัญ ทั้งทางเศรษฐกิจและเป็นกำลังให้กองทัพยามสงคราม รัฐไทยในสมัยก่อนจึงต้องมีนโยบายส่งเสริมให้คนเข้ามาตั้งบ้านเมือง และหาวิธีควบคุมกำลังคนเหล่านั้น ระบบการควบคุมคนไทยในสังคมไทยคือ "ระบบมูลนายไพร่ "
 
 สถานะของไพร่จึงเป็นสถานะที่ถูกพันธนาการไว้ด้วยระเบียบของรัฐ ไม่มีอิสระในชีวิตจนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ มีไพร่หลบหนีการใช้แรงงานเป็นจำนวนมาก
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่า สถานะไพร่ เป็นแอกใหญ่ของสังคม ได้ทรงปลดภาระนี้ด้วยการจัดระเบียบสังคมเสียใหม่ให้มีการใช้แรงงานจ้าง ทหารประจำการหรือทหารอาชีพแทนการเกณฑ์แรงงาน* เริ่มจากปี พ.ศ. ๒๔๒๕ มีการตราพระราชบัญญัติทหารหลายฉบับ ให้เป็นทหารสมัครก่อน จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงประกาศใช้ " พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร ร.ศ. ๑๒๔ " เปลี่ยนจากทหารสมัครเป็นทหาร "เกณฑ์ " โดยกำหนดให้ไพร่ที่มีอายุ ๑๘ - ๒๐ ปีต้องเข้ารับการคัดเลือกเป็นทหารและประจำการมีกำหนดระยะเวลา ๒ ปี การประกาศใช้พระราชบัญญัติเกณฑ์ทหารนี้ นับเป็นการยกเลิกระบบไพร่อย่างเป็นทางการ ไพร่จึงมีสถานะเป็นคนสามัญ เป็นแรงงานอิสระที่มีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิในฐานะมนุษย์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
การเลิกทาส
 
 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบริหารราชการแผ่นดินโดยสิทธิขาด นับตั้งแต่ปี ๒๔๑๖ เป็นต้นมา พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทะนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญยิ่งขึ้นไป และให้ประชาราษฎร์ได้อยู่เย็นเป็นสุขถ้วนหน้ากัน โดยทรงยึดหลักว่า ธรรมเนียมใดเป็นการเจริญ มีคุณประโยชน์เป็นยุติธรรมแล้ว ก็ทรงทำนุบำรุงให้วัฒนาการยิ่งขึ้นไป ธรรมเนียมใดไม่เป็นการเจริญแก่ประชาชน ไม่เป็นคุณประโยชน์ ไม่เป็นการยุติธรรมก็ทรงเลิกเสียนั่นคือการเลิกทาส ได้ทรงพิจารณาที่จะเลิกทาสด้วยการลดราคาค่าทาสลง จำนวนทาสค่อยลดลงโดยลำดับจนหมดไปทั้งพระราชอาณาเขต ทรงใช้วิธีการอย่างละมุนละม่อมในการเลิกทาส มิให้ทั้งนายและตัวทาสเองได้รับผลเสียและไม่พึงพอใจ ทรงดำเนินการเลิกทาสอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๑๗ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงเลิกระบบทาสได้สำเร็จลุล่วง และได้ออกเป็นพระราชบัญญัติทาส รศ. ๑๒๘ (พ.ศ. ๒๔๔๘)
 
 การเลิกทาสเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ทรงพระอุตสาหะจัดการในเรื่องนี้เป็นเวลานานกว่าสามสิบปี จนบรรลุผลสมดังพระราชประสงค์ โดยมิได้ทรงท้อถอย ทรงรอบคอบ เห็นการณ์ไกลเป็นเลิศ พระองค์ทรงดำเนินการได้เรียบร้อย โดยมิได้เสียเลือดเนื้อหรือเกิดการเดือดร้อนประการใด เยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ของพระองค์ย่อมยังประโยชน์ให้แก่ชาวไทยและประเทศชาติเป็นอเนกประการ
 
ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซด์
www.wikipedia.org และ
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต

วันปิยมหาราช หรือ วันปิยะมหาราช

 
 วันปิยมหาราช ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นที่รักใคร่อย่างล้นเหลือของพสกนิกรทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ พระองค์จึงได้รับการถวายพระราชสมัญญานามว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช" ซึ่งมีความหมายว่า "พระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นที่รักยิ่งของปวงชน" ด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ รัฐบาลจึงได้ประกาศให้วันที่ 23 ตุลาคม เป็น "วันปิยมหาราช"
 
พระราชประวัติ
 
 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ ในพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ประสูติแต่สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร แรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีฉลู ตรงกับวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๙๖ ณ พระตำหนักเดิมตรงพระที่นั่งสมมติเทวราชอุบัติ ในหมู่หนึ่งของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ทรงมีพระนามชั้นเดิมว่า " เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ " ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับผม หรือ พระเกี้ยว สำหรับ ประดับหัวจุกของเด็กไทยโบราณี
 
"ทรงเป็นสมเด็จพระปิโยรส ของสมเด็จพระบรมชนกนาถตั้งแต่ทรงพระเยาว์วัย"
 
 เมื่อทรงเจริญพระชันษาสมควรแก่การศึกษา ได้ทรงพระอักษร และเริ่มเรียนในสำนักพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบุตรี ขัตติยราชนารี ผู้ทรงรอบรู้ศิลปวิทยาการหลายแขนง ตลอดจนโบราณราชประเพณี และได้ทรงศึกษาภาษาบาลี วิชาปืนไฟ มวยปล้ำ กระบี่กระบอง คชกรรม อัศวกรรม จากสำนักเจ้านายและขุนนางอื่นๆ ที่เป็นผู้ทรงความรู้อันสมควรแก่พระราชกุมาร สมเด็จพระราชบิดาผู้ทรงมีสายพระเนตรกว้างไกล ทรงตระหนักดีว่าวิชาการสมัยใหม่เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องเรียนรู้ แต่ยังไม่มีในภาษาไทย จึงทรงว่าจ้างครูสตรีชาวอังกฤษมาสอนภาษาอังกฤษแก่สมเด็จพระบรมราชโอรสด้วย แม้ภายหลังเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระองค์ท่านก็ได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษตลอดเวลา นับเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เมื่อเสด็จต่างประเทศก็ตรัสภาษาอังกฤษได้ดี ส่วนวิชารัฐประศาสนศาสตร์ราชประเพณี โบราณคดีทั้งปวงนั้น สมเด็จพระราชบิดาพระราชทานพระบรมราโชวาทฝึกสอนด้วยพระองค์เอง
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๙ ในจำนวนพระราชโอรส ธิดาทั้งสิ้น ๘๒ พระองค์ ในราชวงศ์จักรี ขณะพระชันษา ๙ พรรษา ได้รับสถาปนาเป็น กรมหมื่นพิฆเณศวรสุรกาศ ตรงกับ ปีระกา พ.ศ. ๒๔๐๔ ต่อมาอีก ๔ ปี ก็ได้รับสถาปนาเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ ต่อมาใน ปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๑๑ ได้ทรงกำกับราชการ ในกรมมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมทหารบกวังหน้า ในช่วงซึ่งพระองค์ได้ ตามเสด็จพระราชบิดา เพื่อทอดพระเนตร สุริยปราคา ที่ตำบลหว้ากอ แขวงเมืองประจวบคีรีขันธ์ ได้เกิด ประชวรด้วยไข้ป่า อย่างแรงทั้งสองพระองค์ และในวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระราชบิดา คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จสู่ สวรรคตใน ในขณะซึ่งเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถ มีพระชนมายุเพียง ๑๕ ปีกับ ๑๐ วัน ทั้งยังทรงประชวรด้วยไข้ป่าอย่างหนัก เกือบจะสิ้นพระชันษาด้วย ได้รับให้สถาปนาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี ในวันเดียวกัน แต่ด้วยที่วัยพระองค์ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จึงโปรดเกล้าฯ ให้แต่งตั้ง เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ โดยความเห็นชอบของที่ประชุมเสนาบดี
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนาเมื่อวันพุธที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๑๖ และทรงลาผนวชใน วันพฤหัสบดีที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๖ ทรงเข้าพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก ครั้งที่ สอง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๖ ในปีต่อมาได้กระทำการสำคัญยิ่งใหญ่คือ การเลิกทาส พระองค์สามารถกระทำให้สำเร็จลุล่วงไปโดยมิได้เกิดเหตุร้ายภายในขึ้นเยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ และทรงโปรดฯ ให้มีการตราพระราชบัญญัติเลิกทาส ในปี พ.ศ. ๒๔๑๗
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช ทรงเป็นที่รักเทิดทูนของปวงชนชาวไทย ตลอดเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ นานถึง ๔๒ ปี ซึ่งยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ ที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารทุกพระองค์ ด้วยพระจริยวัตรและพระปรีชาสามารถอย่างเฉลียวฉลาด ของพระองค์ ได้ทรงเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงประเทศ โดยการวางรากฐานความเจริญในด้านต่างๆ ตลอดเวลา ๔๒ ปี ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศไทยรุดหน้าทัดเทียมอารยประเทศ ทรงพัฒนาฟันฝ่าอุปสรรค นานับประการ ทั้งต่อสู่กับการไล่ล่าเมืองขึ้นของบรรดาชาติมหาอำนาจ ในยุคนั้นมาได้ แม้จะเป็นการสูญเสียดินแดน ไปบางส่วน แต่พระองค์ทรงไว้ซึ่งความสุขุม พาประเทศชาติของพระองค์รอดพ้น จากการตกเป็นเมืองขึ้นของต่างชาติ ซึ่งเป็นเรื่องน่าทึ่งสำหรับซีกโลกส่วนนี้ของโลก ที่ ประเทศสยามแห่งนี้มิได้ตกเป็นทาสใคร ด้วยสายพระเนตรมองไกลของพระองค์ ได้ทรงพัฒนานำความเจริญ ก้าวหน้า เร่งรัดในแขนงต่างๆ ทั้ง การพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน และความมั่นคงของบ้าน อีกทั้งพระองค์ยังทรงสนพระทัยถึงความเป็น อยู่ของประชาชน ทรงออกเยี่ยมประชาราษฎร์ อยู่เป็นเนืองนิจ พระองค์จึงเป็นที่จงรักภักดี ของปวงชนชาวไทยทั้งแผ่นดิน
 
 การเสด็จยังต่างประเทศ เปรียบเสมือนเปิดประตูสู่โลกกว้างในช่วงของต้นรัชกาล พระองค์ทรงเสด็จประพาส สิงคโปร์ ชวา พม่า อินเดีย และ หลายๆ ประเทศ ทรงเสด็จประพาสยุโรปถึง ๒ ครั้ง ด้วยกัน คือในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ และในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ แนวทางความสัมพันธ์ด้วยการทูตของพระองค์ท่าน ทำให้เป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศทั่วยุโรป ข้อพิพาท และปัญหาต่างๆ ก็ได้คลายเบาบางลง ความลึกซึ้งพระปรีชาของพระองค์ ได้ทำให้ปัญหาต่างๆ ทั้งเรื่องของชายแดน ไทย-อังกฤษ หรือกับฝรั่งเศส ได้ผ่อนคลายในที่สุด
 
 ความล้ำลึกในพระปรีชาสามารถในด้านวรรณกรรม พระองค์ก็ทรงเป็นได้ทั้ง กวี และ นักประพันธ์ ที่มีความสามารถอย่างลึกซึ้งทีเดียว การแต่งโคลง ฉันท์ บทละคร กาพย์ กลอน หรือ ร้อยแก้ว ร้อยกรอง ทั้งที่พระองค์ทรงมีภารกิจอยู่มากมาย แต่ก็ด้วยพระวิรยะ อุตสาหะ ทรงสนพระทัยเป็นอย่างยิ่ง ดั่งที่ปรากฏผลงานเป็นที่ประจักษ์มีมากกว่า ๓๐เรื่อง ซึ่งก็มีบางเรื่องที่มีความหนาถึงกว่า ๕๐๐ หน้าก็มี ดั่งบางพระราชนิพนธ์ตอนหนึ่งของพระองค์
 
"ความรู้ คู่เปรียบด้วย กำลัง กายเฮย
สุจริต คือเกราะบัง ศาสตร์พ้อง
ปัญญา ประดุจดัง อาวุธ
คุมสติ ต่างโล่ป้อง อาจแกล้ว กลางสนาม"
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประชวร พระวักกะ (ไต) พิการ กระทั่ง เวลา ๒๔ นาฬิกา ๔๕ นาที ของคืนวันเสาร์ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ พระองค์ได้เสด็จสู่สวรรคต รวมพระชนอายุ ๕๗ พรรษา ทรงเสวยราชย์ ๔๒ ปี พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่ยิ่งใหญ่ของแผ่นดินสยาม ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณสุดคณานับทั้งประโยชน์ สุข ความเจริญรุ่งเรือง นำชาติให้เป็นที่ยอมรับของ นานาชาติ พระคุณสุดล้นที่จะพรรณนาจากใจของประชาชนชาวไทยได้หมด พระองค์จึงเป็นที่รักเคารพของคนไทยเสมอมา
 
 สมเด็จพระปิยมหาราช เป็นพระนามที่ได้รับการถวาย โดย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นผู้ทรงคิดถวาย ซึ่งปรากฏอยู่บนจารึกใต้ฐาน ของ พระบรมรูปทรงม้า (๒๔๕๑) พระนามนี้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงเขียน ชมเชย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้คิดพระนามนี้ถวาย
 
 วันที่ ๒๓ ตุลาคม ของทุกๆ ปี ประชาชนคนไทย ทั้งชาติ ถือเป็นวันแห่งการน้อมรำลึกถึงพระองค์อย่างไม่มีเสื่อมคลาย วาระวันคล้ายวันที่พระองค์เสด็จสู่สวรรคต เป็นวันสำคัญที่สุดอีกวันหนึ่ง ที่จะเทิดพระเกียรติ พระปิยมหาราช ไว้ตลอดกาลนาน.
 

การเลิกทาส การเลิกระบบไพร่

 
การเลิกระบบไพร
 
 คำว่า "ไพร่" คือ คำที่ใช้เรียกราษฎรสามัญทั้งหญิงและชายในสังคมมาแต่อดีต สถานะไพร่เกิดขึ้นจากความจำเป็นทางสังคมที่แรงงานมีความสำคัญ ทั้งทางเศรษฐกิจและเป็นกำลังให้กองทัพยามสงคราม รัฐไทยในสมัยก่อนจึงต้องมีนโยบายส่งเสริมให้คนเข้ามาตั้งบ้านเมือง และหาวิธีควบคุมกำลังคนเหล่านั้น ระบบการควบคุมคนไทยในสังคมไทยคือ "ระบบมูลนายไพร่ "
 
 สถานะของไพร่จึงเป็นสถานะที่ถูกพันธนาการไว้ด้วยระเบียบของรัฐ ไม่มีอิสระในชีวิตจนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ มีไพร่หลบหนีการใช้แรงงานเป็นจำนวนมาก
 
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่า สถานะไพร่ เป็นแอกใหญ่ของสังคม ได้ทรงปลดภาระนี้ด้วยการจัดระเบียบสังคมเสียใหม่ให้มีการใช้แรงงานจ้าง ทหารประจำการหรือทหารอาชีพแทนการเกณฑ์แรงงาน* เริ่มจากปี พ.ศ. ๒๔๒๕ มีการตราพระราชบัญญัติทหารหลายฉบับ ให้เป็นทหารสมัครก่อน จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงประกาศใช้ " พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร ร.ศ. ๑๒๔ " เปลี่ยนจากทหารสมัครเป็นทหาร "เกณฑ์ " โดยกำหนดให้ไพร่ที่มีอายุ ๑๘ - ๒๐ ปีต้องเข้ารับการคัดเลือกเป็นทหารและประจำการมีกำหนดระยะเวลา ๒ ปี การประกาศใช้พระราชบัญญัติเกณฑ์ทหารนี้ นับเป็นการยกเลิกระบบไพร่อย่างเป็นทางการ ไพร่จึงมีสถานะเป็นคนสามัญ เป็นแรงงานอิสระที่มีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิในฐานะมนุษย์ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
การเลิกทาส
 
 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบริหารราชการแผ่นดินโดยสิทธิขาด นับตั้งแต่ปี ๒๔๑๖ เป็นต้นมา พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทะนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญยิ่งขึ้นไป และให้ประชาราษฎร์ได้อยู่เย็นเป็นสุขถ้วนหน้ากัน โดยทรงยึดหลักว่า ธรรมเนียมใดเป็นการเจริญ มีคุณประโยชน์เป็นยุติธรรมแล้ว ก็ทรงทำนุบำรุงให้วัฒนาการยิ่งขึ้นไป ธรรมเนียมใดไม่เป็นการเจริญแก่ประชาชน ไม่เป็นคุณประโยชน์ ไม่เป็นการยุติธรรมก็ทรงเลิกเสียนั่นคือการเลิกทาส ได้ทรงพิจารณาที่จะเลิกทาสด้วยการลดราคาค่าทาสลง จำนวนทาสค่อยลดลงโดยลำดับจนหมดไปทั้งพระราชอาณาเขต ทรงใช้วิธีการอย่างละมุนละม่อมในการเลิกทาส มิให้ทั้งนายและตัวทาสเองได้รับผลเสียและไม่พึงพอใจ ทรงดำเนินการเลิกทาสอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๑๗ จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๔๔๘ จึงเลิกระบบทาสได้สำเร็จลุล่วง และได้ออกเป็นพระราชบัญญัติทาส รศ. ๑๒๘ (พ.ศ. ๒๔๔๘)
 
 การเลิกทาสเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ทรงพระอุตสาหะจัดการในเรื่องนี้เป็นเวลานานกว่าสามสิบปี จนบรรลุผลสมดังพระราชประสงค์ โดยมิได้ทรงท้อถอย ทรงรอบคอบ เห็นการณ์ไกลเป็นเลิศ พระองค์ทรงดำเนินการได้เรียบร้อย โดยมิได้เสียเลือดเนื้อหรือเกิดการเดือดร้อนประการใด เยี่ยงการเลิกทาสในนานาประเทศ พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ของพระองค์ย่อมยังประโยชน์ให้แก่ชาวไทยและประเทศชาติเป็นอเนกประการ
 
ขอขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซด์
www.wikipedia.org และ
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น